IBD2025

[av_section min_height=” min_height_px=’500px’ padding=’default’ shadow=’no-shadow’ bottom_border=’no-border-styling’ bottom_border_diagonal_color=’#333333′ bottom_border_diagonal_direction=” bottom_border_style=” id=” color=’main_color’ custom_bg=” src=’https://www.biodconference.org/wp-content/uploads/2017/02/biod4-1-2.jpg’ attachment=’661′ attachment_size=’full’ attach=’scroll’ position=’center center’ repeat=’stretch’ video=” video_ratio=’16:9′ overlay_opacity=’0.5′ overlay_color=” overlay_pattern=” overlay_custom_pattern=”]
[av_heading heading=’กำหนดการประชุม’ tag=’h2′ style=’blockquote modern-quote modern-centered’ size=” subheading_active=” subheading_size=’15’ padding=’10’ color=” custom_font=”][/av_heading]
[/av_section]

[av_textblock size=” font_color=” color=”]

(ร่าง) กำหนดการประชุม

“การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพแห่งชาติ” ครั้งที่  4

“BioD4 : Science and Emerging Technology for Biodiversity Management”

วันที่ 21-23 มิถุนายน 2560 

โรงแรม นภาลัย จ.อุดรธานี

จัดโดย

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

ร่วมจัดโดย

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

วันที่ 20  มิถุนายน 2560

14.00 – 17.00 น.      ลงทะเบียน จัดนิทรรศการ และติดตั้งโปสเตอร์

วันที่ 21 มิถุนายน 2560

08.30 – 09.30 น.     ลงทะเบียนและติดโปสเตอร์

09.30 – 09.40 น.    พิธีเปิดประชุม โดย ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี (อยู่ระหว่างการติดต่อ)

ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กล่าวต้อนรับ

ดร.กัญญวิมว์ กีรติกร ประธานคลัสเตอร์ทรัพยากรชีวภาพ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กล่าวรายงาน

09.40 – 10.10 น.     กล่าวเปิดการประชุมและบรรยายพิเศษ  โดย ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี

10.10 – 10.20 น.      มอบรางวัล Young BioD Award โดย ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี

10.20 – 10.30 น.     การแสดงในพิธีเปิด

10.30 – 11.00 น.     อาหารว่าง

11.00 – 11.45 น.      บรรยายพิเศษ “Global Perspectives on Biodiversity Research and Management”

โดย Prof. Jeffrey A. McNeely, Former Chief Scientist at IUCN

14.45 – 13.30 น.     อาหารกลางวัน

13.30 – 14.10 น.     บรรยายพิเศษ “นวัตกรรมหุ่นยนต์และเซนเซอร์เพื่อการจัดการทรัพยากรชีวภาพและสิ่งแวดล้อม”
โดย ดร.กฤษนัยน์ เจริญจิตร คณะภูมิสาสารนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

14.10 – 14.50 น.     บรรยายพิเศษ “การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพบนฐานเศรษฐกิจพอเพียงด้วยภูมิปัญญาอีสาน”

โดย นายธวัชชัย กุณนาวงศ์ ผู้ประสานงานเครือข่ายอินแปง

14.50 – 15.20 น.    อาหารว่าง

15.20 – 16.00 น.   บรรยายพิเศษ “Society for Conservation Biology Thailand Chapter”

โดย Assoc. Prof. Dr. George A. Gale, คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

16.00 – 16.30 น.   การเสนอผลงานโดยผู้ได้รับรางวัล Young BioD Award

                               Poster & Exhibition

16.30 – 18.00 น.   นำเสนอผลงานรูปแบบโปสเตอร์

นิทรรศการความหลากหลายทางชีวภาพ

-การท่องเที่ยวชมเหยี่ยวอพยพ จากเขาดินสอสู่อาเซียน

-การใช้อากาศยานไร้คนขับศึกษาพะยูนและหญ้าทะเล

-หอยทากและผลิตภัณฑ์จากเมือกหอยทาก

-นิทรรศการจากมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (สาหร่ายเทา  เห็ดกินได้ ผลิตภัณฑ์ทะเลบัวแดง)

-นิทรรศการแมลงกินได้

-นิทรรศการผึ้งและแมงมุม

-ผลิตภัณฑ์จากไม้ยางนา

-นวัตกรรมวัสดุยืดอายุสินค้าเกษตร

ชมและเลือกซื้อผลิตภัณฑ์และสินค้าของชุมชน

18.00 – 21.00        Welcome Dinner

Isan night

วันที่ 22 มิถุนายน 2560

09.00 – 09.40       บรรยายพิเศษ “The Global Biodiversity Information Facility (GBIF) — a freely accessible source of primary biodiversity data”

โดย Dr. Henrik Balslev, Aarhus University, Denmark

09.40 – 10.20        บรรยายพิเศษ “Accelerating Classical Taxonomy”

โดย ศ.ดร.สมศักดิ์ ปัญหา  ผู้อำนวยการสถาบันความเป็นเลิศด้านความหลากหลายทางชีวภาพ

10.20 – 10.50         อาหารว่าง

10.50 – 11.30          บรรยายพิเศษ “State of Mekong Fishes: Its Potential for Biodiversity Indicator of the Basin”

โดย ดร.ชวลิต วิทยานนท์, Senior Aquatic Ecology Expert at Environmental Programme, MRC

11.30 – 12.00          บรรยายพิเศษ “การเขียนผลงานตีพิมพ์ทางวิชาการ”

โดย ดร.ปรัชญา มุสิกสินธร บรรณาธิการวารสาร Natural History Bulletin of the Siam Society

12.00 – 13.30          อาหารกลางวัน

13.30 – 16.00          Oral Presentation

ห้องย่อยที่ 1: Biodiversity Uses and Management

13.30 – 14.00          Invited Speaker “การบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล 4.0”

โดย นายณัฐพล รัตนพันธุ์ ผู้อำนวยการส่วนอุทยานแห่งชาติทางทะเล กรมอุทยานแห่งชาติ
สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

14.00 – 14.30          Invited Speaker “นวัตกรรมไม้โกงกางเทียมป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง”

โดย ดร.เชษฐพงศ์ เมฆสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

14.30 – 14.50          Oral 1 : รูปแบบการจัดการความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพสู่การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
ตามหาปลาร้องเพลงที่กว๊านพะเยา Knowledge Management Model of Biodiversity to Ecotourism Finding Singing Fish in Kwan Phayao Lake,

Phayao Provice

โดย นางฤทัยภัทร  พิมลศรี  คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

14.50 – 15.10           Oral 2 : ประเมินสถานภาพสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ชุ่มน้ำบึงบอระเพ็ด โดยการประยุกต์ใช้ DPSIR approach

โดย นายอารี  สุวรรณมณี สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

15.10 – 15.40             อาหารว่าง

15.40 – 16.00           Oral 3 : ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ทุนทางธรรมชาติบริเวณพื้นที่มรดกโลกห้วยขาแข้งและมูลค่าการใช้ประโยชน์ของชุมชน

โดย นายคมเชษฐา จรุงพันธ์ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดพิษณุโลก

16.00 – 16.20           Oral 4 : ปริมาณกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่โครงการก่อสร้างเขื่อนแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์และกำแพงเพชร

นายธรรมนูญ   เต็มไชย ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดเพชรบุรี

16.20 – 16.40          Oral 5 : การใช้เทคนิคภาพถ่าย 3 มิติเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงแนวปะการัง Applying a Landscape 3d Photogrammetry Technique to Monitor

Coral Reef Community

โดย นางสาวศิริรัตน์ สมเชื้อ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ห้องย่อยที่ 2 : Systematics Taxonomy and Primary Utilization

13.30 – 14.00           Invited Speaker “Biodiversity for Use in Agriculture”

โดย Ms. Khanty Keochanpheng, Ministry of Science and Technology, Lao PDR

14.00 – 14.30            Invited Speaker “แมลงกินได้ แหล่งโปรตีนคุณภาพสูง และแนวโน้มการตลาด”

โดย ดร.ยุพา หาญบุญทรง มหาวิทยาลัยขอนแก่น

14.30 – 14.50            Oral 1 : พฤกษศาสตร์พื้นบ้านของพืชอาหารจากป่าของชาวกะเหรี่ยงและลัวะในตำบลปางหินฝน อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่

โดย นายกิตติยุทธ ปั้นฉาย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

14.50 – 15.10            Oral 2 : ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของไลเคนบนใบไม้ในป่าดิบชื้นในประเทศไทย

โดย นางขวัญเรือน นาคสุวรรณ์กุล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

15.10 – 15.40              อาหารว่าง

15.40 – 16.00            Oral 3 : เจ้าแมงมุมตัวร้าย: สถานการณ์การศึกษาแมงมุมในกลุ่ม Mesothelae และ Mygalomorphae ในประเทศไทย (Arachnida: Araneae) Big Bad

Spiders in Thailand: a current state of affairs in Mesothelae and Mygalomorphae research (Arachnida: Araneae)

โดย ดร.ณัฐพจน์ วาฤทธิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

16.00 – 16.20             Oral 4 : การสำรวจบัวอุบลชาติพื้นเมืองของไทยที่มีความสัมพันธ์กับบัวจงกลนี

โดย นายวิชัย ภูริปัญญวานิช สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

16.20 – 16.40              Oral 5 : การประเมินสถานภาพความเสี่ยงต่อการใกล้สูญพันธุ์ของพืชในบัญชีแนบท้ายอนุสัญญาไซเตส

โดย นางสาวสุมาลี ทองดอนแอ กรมวิชาการเกษตร

16.40 – 17.00               Oral 6 : การใช้ประโยชน์จากเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี (Neonothopanus nambi Speg.) ในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne incognita

Chitwood) ในแปลงพริก

โดย นางสาวสุรีย์พร บัวอาจ กรมวิชาการเกษตร

17.00 – 17.20                 Oral 7 : ความหลากชนิดสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา

โดย นายอิฐสะราม แสนสุภา มหาวิทยาลัยพะเยา

                                      ห้องย่อยที่ 3 : Biology and Conservation

13.30 – 14.00               Invited Speaker “การบริหารจัดการพื้นที่ Man and Biosphere ประเทศไทย”

โดย นางสาวทิพวรรณ เศรษฐพรรค์ ผู้อำนวยการส่วนความร่วมมือระหว่างประเทศ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

14.00 – 14.30              Invited Speaker “การติดตามและท่องเที่ยวชมเหยี่ยวอพยพแบบ near real time”

โดย Mr. Andrew J. Pierce มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

14.30 – 14.50              Oral 1 : Use of human dominated agricultural landscapes by king cobras (Ophiophagus hannah)

โดย Mr.Colin T. Strine สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

14.50 – 15.10               Oral 2 : สถานภาพการกระจายของนาก 2 ชนิดในป่าชายเลนทางภาคใต้ฝั่งอันดามันของประเทศไทย

โดย นายกิติพัทธ์ โพธิ์ศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

15.10 – 15.40                 อาหารว่าง

15.40 – 16.00               Oral 3 : High motivation enables the smaller contestants to win the contests against larger opponents in fiddler crabs

โดย นางฟามีดะห์ วาเซ็ท ทีนา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

16.00 – 16.20              Oral 4 : วิวัฒนาการเชิงภูมิศาสตร์และโครงสร้างทางพันธุกรรมประชากรของช้างป่าเอเชีย (Elephas maximus) ตามแนวเทือกเขาตะนาวศรีใน

ประเทศไทย

โดย นางสาววรธา กลิ่นสวาท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

16.20 – 16.40              Oral 5 : ความหลากหลายของลำดับดีเอ็นเอชุดซ้ำ VSRAEP ในสัตว์ตระกูลวารานัส Diversity of VSAREP satellite DNA family in monitor lizards

โดย นางสาวอรจิรา ประคองชีพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

16.40 – 17.00               Oral 6 : ชีววิทยาการป้อนอาหารของนกแอ่นกินรังในสภาพแวดล้อมธรรมชาติ Feeding Biology of Edible-nest Swiftlet in Natural Environment

โดย นายอุเทน ภุมรินทร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

17.00 – 17.20               Oral 7 : ผลกระทบจากพื้นที่ชายขอบป่าที่เป็นถนนต่อสังคมของนกป่าในพื้นที่ป่าดิบแล้ง

นางสาวดาภะวัลย์  คำชา  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

วันที่ 23 มิถุนายน 2560

09.00 – 09.30             บรรยายพิเศษ “การใช้เทคนิคภาพถ่าย 3 มิติ ในการศึกษาฟอสซิลและความหลากหลายของฟอสซิลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

โดย ดร.สุรเวช สุธีธร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

09.30 – 10.00              บรรยายพิเศษ “กุ้งเดินขบวน”

โดย (อยู่ระหว่างการติดต่อ)

10.00 – 10.30               อาหารว่าง

10.30 – 12.00               เสวนา “กว่าจะมาเป็นการท่องเที่ยวทะเลบัวแดง” โดย

ประธานชมรมการท่องเที่ยวทะเลบัวแดง

การท่องเที่ยวจังหวัดอุดรธานี

นักวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

ดำเนินรายการ โดย อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี

12.00 – 12.30               มอบรางวัลภาคบรรยายและภาคโปสเตอร์ดีเด่น

กล่าวปิดการประชุม โดย ศ.ดร.มรกต ตันติเจริญ ที่ปรึกษาอาวุโส สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

12.30 – 13.30               อาหารกลางวัน

13.30 – 17.00               ทัศนศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ (พิพิธภัณฑ์บ้านเชียง มรดกโลก)
[/av_textblock]

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *