IBD2025

[av_section min_height=” min_height_px=’500px’ padding=’default’ shadow=’no-shadow’ bottom_border=’no-border-styling’ bottom_border_diagonal_color=’#333333′ bottom_border_diagonal_direction=” bottom_border_style=” id=” color=’main_color’ custom_bg=” src=’https://www.biodconference.org/wp-content/uploads/2016/02/An_077.jpg’ attachment=’1866′ attachment_size=’full’ attach=’scroll’ position=’center center’ repeat=’stretch’ video=” video_ratio=’16:9′ overlay_opacity=’0.5′ overlay_color=” overlay_pattern=” overlay_custom_pattern=”]
[av_heading tag=’h2′ padding=’10’ heading=’ประกาศผลบทคัดย่อ’ color=’custom-color-heading’ style=’blockquote modern-quote modern-centered’ custom_font=’#ffffff’ size=” subheading_active=” subheading_size=’15’ custom_class=”][/av_heading]

[av_button label=’Download’ link=’manually,https://www.biodconference.org/wp-content/uploads/2018/05/Announcement-of-Abstract.pdf’ link_target=” size=’large’ position=’center’ icon_select=’yes’ icon_hover=’aviaTBicon_hover’ icon=’ue82d’ font=’entypo-fontello’ color=’theme-color’ custom_bg=’#444444′ custom_font=’#ffffff’]
[/av_section]

[av_textblock size=” font_color=” color=”]
ประกาศผลการคัดเลือกบทคัดย่อ

คณะกรรมการวิชาการฯ ได้คัดเลือกการนำเสนอ “ผลงานวิชาการภาคบรรยาย (Oral) และภาคโปสเตอร์(Poster)” สำหรับผู้สนใจเข้าร่วมการประชุมวิชาการ “การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพแห่งชาติ” ครั้งที่ 5 ภายใต้หัวข้อ BioD5 plus : “People + Utilization + Sustainability” ระหว่างวันที่ 10 – 14 กรกฎาคม 2561 ณ โรงแรมไดมอนด์พลาซ่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตามรายชื่อท้ายประกาศ

ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกตามประกาศแนบท้าย ต้องชำระค่าลงทะเบียน ภายในวันที่ 15 พฤษภาคม 2561 โดยชำระค่าลงทะเบียนมาที่

ชื่อบัญชี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

ธนาคาร : ธนาคารกรุงเทพฯ จำกัด (มหาชน)

ประเภทบัญชี : สะสมทรัพย์

หมายเลขบัญชี : 080-00000-1-0

หากชำระเงินแล้ว สามารถส่งหลักฐานการโอนเงินมายังอีเมล์ biod@biotec.or.th และหากไม่ชำระค่าลงทะเบียนภายในเวลาที่กำหนด ถือว่าท่านสละสิทธิ์

หมายเหตุ 

  1. บทคัดย่อที่ผ่านการคัดเลือกจากคณะกรรมการใน ภาคบรรยาย (Oral) และ ภาคโปสเตอร์ (Poster) จะถูกจัดพิมพ์ลงใน Book of Abstract ของงานประชุม
  2. เพื่อเป็นการยืนยันการเข้าร่วมส่งผลงาน ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกต้องชำระค่าลงทะเบียนภายในวันที่ 15 พฤษภาคม 2561 หากไม่ชำระค่าลงทะเบียนภายในเวลาที่กำหนด ถือว่าท่านสละสิทธิ์ และขอตัดสิทธิ์การลงตีพิมพ์
  3. ผู้นำเสนอผลงานในรูปแบบ Oral จะต้องจัดทำโดยมีรูปแบบ ดังนี้
    1. ผู้เสนอผลงานต้องจัดทำไฟล์ Powerpoint สำหรับนำเสนอผลงาน ส่งให้เจ้าหน้าที่รับไฟล์ก่อนนำเสนออย่างน้อย 1 ชั่วโมง
    2. ผู้นำเสนอผลงานมีเวลา 15 นาที/ผลงาน : นำเสนอประมาณ 10-12 นาที ให้ความเห็นและตอบข้อซักถามจากผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เข้าร่วมรับฟัง ประมาณ 3-5 นาที
  1. ผู้นำเสนอผลงานในรูปแบบ Poster จะต้องจัดทำโดยมีรูปแบบ ดังนี้
    1. ต้องจัดพิมพ์โปสเตอร์ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ รูปแบบขาตั้ง X-stand ขนาด 60 เซนติเมตร สูง 160 เซนติเมตร (ผู้นำเสนอนำขาตั้ง X-Stand มาเอง จำนวน 1 อัน)
    2. ดูคำแนะนำการจัดทำโปสเตอร์ได้ที่ https://www.biodconference.org
    3. ลงทะเบียนติดตั้งโปสเตอร์ได้ตั้งแต่วันที่ 10 กรกฎาคม 2561 เวลา 13.00-16.00 น. หรือวันที่
      11 กรกฎาคม 2561 เวลา 08.30-09.30 น. ในบริเวณที่ผู้จัดประชุมเตรียมไว้ให้

 

รายชื่อแนบท้ายประกาศผลการคัดเลือกบทคัดย่อ

ลำดับ ชื่อ-นามสุล หน่วยงาน ชื่อเรื่อง ตัดสินผลงาน
1 Mr. Curtis  Radcliffe มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี Home range of Monocled Cobra (Naja kaouthia) and Indo-Chinese Spitting Cobra
(Naja siamensis) in Sakaerat Biosphere Reserve, Nakhon Ratchasima province
oral
2 Assoc. Prof. Dr. George A.  Gale มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี Macaques and snakes have large, but variable, impacts on the nesting success of evergreen forest birds oral
3 Mr. Gregory J. Irving มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Study of the effects of forest fragmentation on avian biodiversity in Chiew Larn Reservoir oral
4 Miss Katie Oliver มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี The short lived conservation importance of plantation forests for (Nycticebus bengalensis) poster
5 Assoc. Prof. Dr. Philp D. Round มหาวิทยาลัยมหิดล Undiscovered avian diversity: South-East Asian mainland Oriental White-eyes Zosterops palpebrosus constitute two unrelated lineages oral
6 Mr. Wyatt  Petersen มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พื้นที่หย่อมป่าขนาดเล็กที่โดดเดี่ยวและผ่านการรบกวน : การอนุรักษ์สัตว์ผู้ล่าขนาดเล็กในพื้นที่ที่ถูกละเลย poster
7 นางสาวกนกศรี  ทัศนาทัย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ รา 7 ชนิดใหม่และ 1 ชนิดที่รายงานครั้งแรกในสกุล Ophiocordyceps ที่เพอริทีเซียอยู่บนก้านราในประเทศไทย poster
8 นางสาวกรกนก  วงษ์วิลา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ความหลากชนิดของสัตว์ผู้ผสมเกสรของดอกสาบม่วง (Praxelis clematidea R.M. King & H. Rob.)
ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น
poster
9 ดร.กฤษนัยน์ เจริญจิตร มหาวิทยาลัยบูรพา การจัดทำแผนที่หญ้าทะเลและทรัพยากรชายฝั่งโดยประยุกต์หุ่นยนต์อากาศยานขนาดเล็ก บริเวณหาดหยง

หลำและเกาะมุก อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม

oral
10 นางสาวกวิสรา  เฮงธนารัฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การสำรวจประชากรปรงชัยภูมิ  (Cycas elephantipes) ในอุทยานแห่งชาติป่าหินงาม จังหวัดชัยภูมิ oral
11 นางสาวกัลยารัตน์  จันต๊ะวงศ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การศึกษาพลวัตรของสังคมพืชและการเก็บกักคาร์บอนในพื้นที่ฟื้นฟูป่าเพื่อการประยุกต์ใช้ในการออกแบบวิธีการฟื้นฟูป่าที่เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ poster
12 ผศ. ดร.กานดา  ค้ำชู มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การติดปรสิต Nematopsis sp. ในหอยสองฝาทะเลบางชนิดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ
บริเวณอ่าวบ้านดอน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
oral
13 ดร.แก้วภวิกา  รัตนจันทร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สถานภาพของแมลงคุ้มครองในพื้นที่กลุ่มป่าภูเขียว-น้ำหนาว poster
14 ผศ. ขนิษฐา  กีรติภัทรกาญจน์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เพศและรูปร่างของรูปูมีผลต่อลักษณะของรูปูก้ามดาบ Uca rosea poster
15 นางสาวขวัญชนก

สินสวนแตง

มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี การใช้ประโยชน์จากต้นมะเดื่ออุทุมพร (Ficus racemosa L.) ของสัตว์
กลุ่มนกในบริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำซองกาเลีย จังหวัดกาญจนบุรี
poster
16 ผศ. ดร.ขวัญเรือน

นาคสุวรรณ์กุล

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของเห็ดทางการแพทย์สกุล Phellinus oral
17 นายจตุรงค์  คำหล้า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ราพัฟบอลสายพันธุ์ใหม่และบันทึกใหม่จากภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย poster
18 นางสาวจารุวรรณ

เชื้อสีหะรณชัย

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ราผู้ย่อยสลายเศษซากไม้ สกุล Rhexoacrodictys และ Endophragmiella จากประเทศไทย poster
19 นางจิราภรณ์  อรัณยะนาค มหาวิทยาลัยศิลปากร แนวทางในการอนุรักษ์ฟอสซิลไม้กลายเป็นหิน ในอุทยานแห่งชาติไม้กลายเป็นหิน (เตรียมการ) จังหวัดตาก oral
20 นางสาวจุฑามาศ  พุทธยากูล มหาวิทยาลัยรามคำแหง การเปลี่ยนแปลงการปกคลุมพื้นที่ของปะการังบนซากปะการังโต๊ะที่ตายจากปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
ปี พ.ศ. 2553 บริเวณอ่าวสุเทพ
หมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา
poster
21 นางสาวจุรีรัตน์  เอื้อพัฒนากิจ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ การศึกษาวิธีที่เหมาะสมในการบ่มตัวอย่างดินและคัดแยกราดินจากแหล่งน้ำพุร้อนธรรมชาติ poster
22 นายเจริญมี  แช่มช้อย มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริมาณการสะสมของไมโครพลาสติกในหอยกะพง (Musculus panhai) บริเวณเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี poster
23 นายชวกร  ขุนเศรษฐ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายงานการค้นพบ และอนุกรมวิธานของแมงมุมสกุล Atmetochilus Simon, 1887 ในประเทศไทย oral
24 นางสาวโชติกา  พลทองพัท มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างชาวประมงและโลมาบริเวณท่าเรืออเนกประสงค์ดอนสัก จ.สุราษฏร์ธานี oral
25 นายซูไบดี  โตะโมะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ศึกษาทรัพยากรชีวภาพเด่นในหุบเขาลำพญาและการใช้ประโยชน์ตามภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อการจัดการทรัพยากรชีวภาพอย่างยั่งยืนในตำบลลำพะยา จังหวัดยะลา oral
26 นางสาวฐิฏินันท์  เหรียญทอง มหาวิทยาลัยมหิดล การศึกษาลักษณะการกระจายพันธุ์และการอนุรักษ์รักษาพันธุ์ต้นรักในสภาพปลอดเชื้อ poster
27 นางสาวณัฏฐธิดา  สิงห์บำรุง มหาวิทยาลัยมหิดล การประเมินการงอกของเมล็ดปีบทอง (พืชสมุนไพร) นอกถิ่นอาศัยและในสภาพปลอดเชื้อสำหรับเป็นวัสดุเริ่มต้นเพื่อการขยายพันธุ์ การอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน poster
28 นางสาวณัฐนิช  เยี่ยมไธสง มหาวิทยาลัยขอนแก่น รูปแบบการกระจายเมล็ดพรรณไม้ในสังคมไม้ยืนต้นในมหาวิทยาลัยขอนแก่น poster
29 นายณัฐวุฒิ  วิริยะธนาวุฒิวงษ์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ การตรวจสอบดีเอ็นเอเห็ดระโงกที่กินได้ด้วยไพรเมอร์ที่มีความจำเพาะ oral
30 นายณัฐวุฒิ  จันทร์เหล็ก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ความหลากชนิดของหอยทะเลบริเวณอ่าวบุญคง อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง oral
31 นางสาวดิศนัดดา  ก้อนคำ มหาวิทยาลัยนเรศวร ความหลากหลายของเห็ดในวงศ์ Ganodermataceae (Basidiomycota) ที่พบในเขตพื้นที่บ้านเผ่าไทย อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก poster
32 ดร.ดุสิต งอประเสริฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พื้นที่แกน กับชายขอบป่า: สถานภาพของเสือลายเมฆ Neofelis nebulosa ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองแสง oral
33 นายตาวฟิร  มะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ทัศนคติของชาวประมงกับโลมาบริเวณปากแม่น้ำดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี poster
34 นายไตรเทพ  สุดสำอางค์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ฤทธิ์ในการต้านแบคทีเรียจากของเหลวในหม้อปิด ของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง
เสือสุราษฎร์ Nepenthes thorelii (Suratensis)
poster
35 นางสาวทักษพร

ธรรมรักษ์เจริญ

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ รายงานการพบเห็ดพิษและกลุ่มของพิษจากพื้นที่ป่าดงใหญ่

จังหวัดอำนาจเจริญ

oral
36 นายทัพประดิษฐ์  มิตรเปรียญ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กระบวนการพัฒนาเซลล์สืบพันธุ์ขั้นสมบูรณ์ของปลาคางคก Allenbatrachus grunniens
(Linnaeus, 1758) จากปากแม่น้ำปราณบุรี ประเทศไทย
poster
37 นายทิวา  โอ่งอินทร์ สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การกระจาย สถานภาพด้านการอนุรักษ์และผลกระทบจากการรบกวนโดยมนุษย์ต่อนกในกลุ่มไก่ในพื้นที่ป่าที่

ราบต่ำทางภาคใต้ของประเทศไทย

oral
38 ดร.เทียมหทัย  ชูพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา พรรณพืชในป่าชุมชนภูประดู่เฉลิม

พระเกียรติ : การอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์

oral
39 นายธนภัทร  กลับชุ่ม มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ ความหลากหลายของนกชายเลนที่ลงหากินในบ่อนาเกลือที่ถูกทิ้งร้าง

จังหวัดเพชรบุรี

oral
40 ดร.ธนากร  จันทสุบรรณ มหาวิทยาลัยสงขลาคนรินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ชนิดนกชายเลนอพยพในอ่าวปัตตานี จังหวัดปัตตานี oral
41 นายธรรมนูญ  เต็มไชย ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาาติ จังหวัดเพชรบุรี การศึกษามูลค่าของน้ำในระบบนิเวศกลุ่มป่าตะวันออก oral
42 ผศ. ดร.ธรรมศักดิ์  ยีมิน มหาวิทยาลัยรามคำแหง การจัดการหอยตะเภา (Donax scortum) บริเวณหาดปากเมง จังหวัดตรัง เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน poster
43 นางสาวธิดาพร  เถื่อนเภา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ผลของขนาดวัสดุเพาะต่อการเจริญของเส้นใยและการเกิดดอกของเห็ดโคนญี่ปุ่น poster
44 นายธีระพงษ์  พริกชูผล มหาวิทยาลัยรามคำแหง การเปรียบเทียบวิธีการเก็บตัวอย่างสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่ในระบบนิเวศหาดทราย : กรณีศึกษาหาดปากเมง จังหวัดตรัง poster
45 นายนครินทร์   สุวรรณราช มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทรัฟเฟิลจากภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย poster
46 นางสาวนพรัตน์   วรรณเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เห็ดร่มก้านดำ (Marasmius, Agaricales) ในสวนพฤกษศาสตร์บ้านร่มเกล้าในพระราชดำริ จังหวัดพิษณุโลก poster
47 ดร.นรินทร์รัตน์  คงจันทร์ตรี มหาวิทยาลัยบูรพา ความหลากหลายและการแพร่กระจายของปะการังแข็งบริเวณหมู่เกาะมะริด (Myeik Archipelago) ประเทศ

เมียนมาร์

oral
48 ดร.นฤมล  ตันติพิษณุ มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ความสำคัญของข้อมูลที่ไม่ได้ทำการเผยแพร่ต่อการระบุพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงใน

ประเทศไทย

oral
49 นายนัฐวุฒิ  บุญยืน ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ความหลายหลายของราจิ๋วกลุ่มเอนโดไฟท์ที่อยู่ในข้าวสายพันธุ์ไทย (Oryza sativa L.) เก็บมาจากจังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดชัยนาทของประเทศไทย poster
50 นางสาวนันทนัช

อานามนารถ

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ การปรับปรุงอาหารเลี้ยงเชื้อราทำลายแมลง Ophiocordyceps camponoti-leonardi
และ Ophiocordyceps camponoti-saundersi
poster
51 นางสาวนันทวรรณ  เทียมทัน มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ชีพลักษณ์ลักษณะดอกและผล และความสําเร็จการสืบพันธุ์ของผักบุ้งจิงจ้อเขาขาด (Remirema bracteata Kerr.) ในพื้นที่มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี poster
52 ผศ. นุกูล  ชิ้นฟัก มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ การท่องเที่ยวเชิงอาหาร

ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

oral
53 นางสาวนุชนาฏ  รักกลิ่น บริษัท ปตท. จำกัด(มหาชน) การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับความหลากหลายทางชนิดและการแพร่กระจายของปูแสมในวงศ์ Sesarmidae บริเวณพื้นที่ป่าชายเลนปลูกศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ poster
54 นางสาวเนตรนภิศ  เขจรักษ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ธานี ปรสิตในปลาช่อน (Channa striata) บริเวณบึงขุนทะเล จังหวัดสุราษฎร์ธานี poster
55 นายบารมี  สกลรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า

และพันธุ์พืช

การใช้ประโยชน์จากเห็ดของชุมชนโดยรอบพื้นที่อุทยานแห่งชาติน้้าพองและ อุทยานแห่งชาติภูเวียง จังหวัดขอนแก่น poster
56 นายปฐมพงศ์  พรามณีโชติ สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผลผลิตปฐมภูมิของปะการังดอกกะหล่ำ (Pocillopora damicornis)
จากแหลมพันวา จ.ภูเก็ต
oral
57 ดร.ปรวีร์  พรหมโชติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การมีอยู่ของกะท่างน้ำชนิด Tylototriton verrucosus

ในประเทศไทย

poster
58 นายประพันธ์  ไตรยสุทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ความหลากหลายของสาหร่ายขนาดใหญ่และไดอะตอมพื้นท้องน้ำในฝายราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ poster
59 ดร.ประภาพรรณ  ซอหะซัน มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ผลของวัสดุเหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษต่อการเจริญของเส้นใยและผลผลิตเห็ดนางรมภูฏาน oral
60 นายประเสริฐ  ศรีกิติกุลชัย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ อัตราส่วนที่เหมาะสมของวัสดุทำหัวเชื้อเห็ดเผาะ poster
61 นางสาวปาริชาติ  นิยมไทย มหาวิทยาลัยรามคำแหง ผลกระทบของเครื่องมือประมงที่มีต่อกองหินใต้น้ำในจังหวัดชุมพร poster
62 นางสาวปิยธิดา  บุญสนอง มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เส้นรอบวงของต้นมังคุด (Garcinia mangostana L.) มีผลต่อความกว้างของ ทรงพุ่มและจำนวนดอกมังคุด poster
63 นายพงษ์สวัสดิ์  คำสุนทร ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ความหลากหลายของราย่อยสลายซากพืช ในพื้นที่ป่าชุมชนบ้านเผ่าไทย
จ. พิษณุโลก
poster
64 นางพนิดา  อุนะกุล ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ราทะเลจากจังหวัดชลบุรี สตูลและตราด ประเทศไทยและฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ poster
65 นางสาวพัชรพรรณ  ไตรภพ  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ความผันแปรภายในของคุณลักษณะเชิงฟังก์ชันของต้นไม้ชนิดพันธุ์เด่นที่พบในป่ารุ่นสองของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ poster
66 นางสาวพัชรีญา  กรงาม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ความหนาแน่น ขนาดตัว อัตราส่วนทางเพศ และลักษณะของรูปู Uca perplexa ในภาคใต้ของประเทศไทย poster
67 นายพัน  ยี่สิ้น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ชนิดและการแพร่กระจายของปูน้ำจืดในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ oral
68 นางพุทธรักษ์  ชมนันติ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง อนุกรมวิธานและวงศ์วานวิวัฒนาการของเชื้อราย่อยสลายจากต้นโกงกางในภาตใต้ของประเทศไทย poster
69 นางสาวแพพลอย

ก้องสุรกานต์

มหาวิทยาลัยมหิดล การพัฒนาสภาวะด้านร่างกาย รูปแบบกิจกรรมและการใช้พื้นที่อาศัยของวัวแดง (Bos javanicus d’Alton, 1823) ที่ถูกปล่อยคืนสู่ธรรมชาติในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระ จังหวัดกาญจนบุรี oral
70 นายไพโรจน์  เสนา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์  เครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายสำหรับการติดตามระบบนิเวศทางทะเลบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม poster
71 นางสาวฟามิดา ฟาเซ็ต  ทีน่า มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ รูปแบบการผสมพันธุ์และลักษณะของรูปูก้ามดาบในภาคใต้ของประเทศไทย poster
72 นางสาวภัทราพร  สิมหล่า มหาวิทยาลัยขอนแก่น เครือข่ายความสัมพันธ์ในการผสมเกสรของพืชดอกพื้นล่างในป่าเต็งรังผสม

ก่อและสน อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว

จ.เพชรบูรณ์

poster
73 นายภากร  นลินรชตกัญจน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนุกรมวิธานของผึ้งในเผ่า Anthidiini (Hymenoptera Megachilidae)
ในประเทศไทย
oral
74 นางสาวมณีรัตน์  พบความสุข ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ รายงานการพบเห็ดสกุล Hohenbuehelia ที่ย่อยสลายไม้แต่มีคุณสมบัติจับไส้เดือนฝอยเป็นอาหารได้ oral
75 นางมนัสวัณฏ์ แสงศักดา   ภัทรธำรง สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ศึกษาความหลากหลายของปลาบริเวณแนวป่าชายเลนในทะเลสาบสงขลา

ตอนนอก

poster
76 ดร.มาฆมาส  สุทธาชีพ มหาวิทยาลัยรามคำแหง  ความหลากหลายของชนิดปะการังในบริเวณที่ตื้นของเขตพื้นราบของหมู่เกาะอ่างทอง อ่าวไทยฝั่งตะวันตก poster
77 ดร.เมธิณี  อยู่เจริญ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การศึกษาจุลพยาธิวิทยาเบื้องต้นบนเนื้อเยื่อปะการังโขดที่แสดงอาการ

สีชมพู

poster
78 นางสาวรงรอง  อ่างแก้ว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ผลกระทบของพื้นที่ชายขอบที่เป็นถนนต่ออัตราการรอดของรังและลูกนกหลังออกจากรังในป่าเขตร้อน poster
79 นางสาวรัชณีย์  แก้วศรีขาว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประเมินความสามารถเบื้องต้นของสาหร่ายใบมะกรูด (Halimeda macroloba) ในการลดคาร์บอนในบรรยากาศ oral
80 นางรัชดา  พรหมหาญ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ วิธีการเก็บรักษาเชื้อก่อโรคบนแมลงด้วยเทคนิคกระดาษกรอง poster
81 นางสาวรัตนาวดี  เนียมศิริ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การลงเกาะของตัวอ่อนปะการังจากชุดทดลองการลงเกาะบริเวณอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพรในช่วง

ปี พ.ศ. 2559-2560

poster
82 นางสาวละอองดาว  จงรักษ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การสำรวจการท่องเที่ยวชมโลมาในอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ในปี พ.ศ. 2560 poster
83 นายวรัตถ์  ศิวายพราหมณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดทำบัญชีรายชื่อของสัตว์กลุ่ม arachnida ในประเทศไทย oral
84 นายวัชระ  สามสุวรรณ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การเกิดอาการโรคขาวในปะการังดอกเห็ด Fungia fungites บริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันตก oral
85 นางสาววัชรี  รวยรื่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ประชาคมสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่บริเวณหาดเลนปากคลองกำพวน จังหวัดระนอง poster
86 นางสาววัลยา  กลิ่นทอง มหาวิทยาลัยรามคำแหง ความชุกชุมของไส้เดือนทะเลบนชุดทดลองบริเวณแนวปะการังหมู่เกาะชุมพร ในช่วงปี พ.ศ. 2559- 2560 poster
87 นางสาววาสนา  น้อยศรีภูมิ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ราก่อโรคในหนอนด้วงสกุล Ophiocordyceps 3 ชนิดใหม่ จากป่าชุมชนบ้านเผ่าไทย จังหวัดพิษณุโลก poster
88 นายวิชิน  สืบปาละ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การอนุรักษ์ความหลากหลายของสัตว์น้ำพลอยจับได้บริเวณหมู่เกาะช้าง

จ. ตราด

oral
89 นางสาววินันท์ดา  หิมะมาน กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ความหลากหลายของแอคติโนมัยสีทเอนโดไฟต์จากกล้วยไม้ป่าในกลุ่มป่า

ภูเขียว-น้ำหนาว และศักยภาพในการสร้างสารส่งเสริมการเจริญเติบโต

ของพืช

poster
90 นางสาววิภาวรรณ  อุ่นคงทอง มหาวิทยาลัยรามคำแหง การแพร่กระจายและความชุกชุมของหอยผีเสื้อ (Siliqua radiata) บริเวณหาดปากเมง จังหวัดตรัง poster
91 นายวีระ  ศรีอินทร์สุทธิ์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ การค้นพบราบันทึกใหม่ 3 ชนิดและบัญชีรายชื่อราดินจากแหล่งความร้อนใต้พิภพในประเทศไทย poster
92 นางสาวศจี  กองสุวรรณ อีสต์ ฟอรั่ม การสำรวจจำนวนและการแพร่กระจายของพลับพลึงธาร oral
93 ผศ. ดร.ศราวุธ  เจ๊ะโส๊ะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชีววิทยา และการพัฒนาระบบเพาะเลี้ยงปลาพลวงชมพู

(Tor douronensis (Valenciennes, 1842)) ในจังหวัดยะลา

poster
94 นายศรีคุณ  ขาวงาม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ความหลากหลายของราแมลง Ophiocordyceps nutans จากภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย poster
95 นางสาวศศิธร  จินดามรกฎ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ความหลากหลายของยีสต์ที่คัดแยกจากเห็ดในประเทศไทย poster
96 นางสาวศิริรัตน์  สมเชื้อ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ความหลากชนิดและพฤติกรรมการกินของปลาในแนวปะการังที่อ่าวขอนแค และอ่าวปะตก เกาะราชา จังหวัดภูเก็ต poster
97 นางสาวศิริลักษณ์

รองประโคน

มหาวิทยาลัยรามคำแหง การเปรียบเทียบปริมาณไมโครพลาสติกในมวลน้ำบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม และหาดปากเมง ในช่วงปี

พ.ศ. 2560 และ ปี พ.ศ. 2561

poster
98 นางสาวศุภกานต์  เผ่าด้วง มหาวิทยาลัยรามคำแหง การเปรียบเทียบการปนเปื้อนของไมโครพลาสติกในหอยผีเสื้อ (Siliqua radiata) บริเวณหาดแหลมสน

จังหวัดสตูล และบริเวณหาดปากเมง จังหวัดตรัง

poster
99 ดร.สรายุทธ  อ่อนสนิท มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การปกปักพื้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชหม้อข้าวหม้อแกงลิงเสือสุราษฎร์ Nepenthes suratensis oral
100 นางสาวสลิลาพร  นวลแก้ว ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ การคัดกรองราเอนโดไฟต์จากบัวที่มีฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียก่อโรค poster
101 นายสัมพันธ์  ทองหนูนุ้ย มหาวิทยาลัยมหิดล ค่าความคงทนของปลาค้อภูเขาต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในแหล่งน้ำ: ประยุกต์เพื่อศึกษาถึงผลกระทบจากภาวะโลกร้อน poster
102 ดร.สาทินี  ซื่อตรง ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ของราทะเลในจังหวัดสมุทรสาคร poster
103 นางสายสมร   ลำยอง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ข้อมูลทางสัณฐานวิทยาและอณูชีววิทยาสนันสนุนราเอนโดไฟท์สองสายพันธุ์ใหม่จากชาเมี่ยง
(Camellia sinensis var. assamica) ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย
poster
104 นายสิทธิพร  เพ็งสกุล มหาวิทยาลัยรามคำแหง ความเหมาะสมของเกาะท้ายเพลาในเขตอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง เพื่อการเป็นแหล่งดำน้ำ oral
105 นายสิทธิศักดิ์   จันทรัตน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พันธุศาสตร์เซลล์ของแย้เส้น (Leiolepis belliana) ในจังหวัดปัตตานี oral
106 นางสาวสินัฐชญา

สงวนพฤกษ์

มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ความหลากหลายของพืชสกุลมะเดื่อและไทร (Ficus L.) ที่ขึ้นริมฝั่งน้ำ ในพื้นที่หน่วยจัดการต้นน้ำซองกาเลีย อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี poster
107 ผศ. ดร.สิริภัค  สุระพร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความหลากหลายทางโครงสร้างของผลึกโปรทีนและอนุภาคไวรัสของ BmNPV ที่เก็บจากหนอนไหมที่เลี้ยงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือของประเทศไทย poster
108 นางสาวสิริวรรณ  ณ บางช้าง ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ รายงานการพบเห็ดสกุล Favolus

ในประเทศไทย

poster
109 นางสาวสุจินดา  สมหมาย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ การสำรวจผลผลิตของป่าในสถานีวนวัฒน์วิจัยหนองคู จังหวัดสุรินทร์ poster
110 นางสาวสุธินี  สินุธก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ องค์ประกอบชนิดและการแพร่กระจายของพืชน้ำในทะเลน้อย จ.พัทลุง poster
111 นายสุนิตสรณ์  พิพะสาลี อิสระ ปรง 2 ชนิดในอำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก : สถานภาพและการใช้ประโยชน์ poster
112 ดร.สุพินญา  บุญมานพ สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ การขยายพันธุ์เท้ายายม่อมเพื่อการอนุรักษ์ oral
113 ดร.สุรพล  ฐิติธนากุล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ธานี การศึกษาสัณฐานวิทยาละอองเกสรหม้อข้าวหม้อแกงลิง Nepenthes mirabilis var. mirabilis,N. mirabilis var. globosa และ N. thorelii (suratensis) ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด poster
114 นางสาวสุรีรัตน์  รัตนสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยมหิดล คุณค่าทางโภชนาการและปริมาณโลหะหนักของสาหร่ายใบมะกรูด poster
115 นางสาวสุไหรย้า  บิลหนู มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การสำรวจ แนวทางทางการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพชุมชนนำเที่ยวชมโลมาในอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช poster
116 นางสาวหัทยา  จิตรพัสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ ความหลากชนิดและความชุกชุมของ salps ในบริเวณอ่าวไทยตอนใน oral
117 นางสาวอนันตนิจ  ชุมศรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การศึกษาชนิดของลูกน้ำยุงและผู้ล่าในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช poster
118 นางสาวอนุตตรา  ณ ถลาง ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ เขตรอยต่อของป่ารุ่นเก่าและป่าทดแทนบริเวณแปลงวิจัยพลวัตป่ามอสิงโต อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ poster
119 นายอรเทพ  มือเสือ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ความหลากหลายและความหนาแน่นของแพลงก์ตอนพืชในบริเวณแนวปะการังจังหวัดชลบุรีและจังหวัดพังงา poster
120 นายอัครัช  แสงอรุณ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การเปรียบเทียบปริมาณไมโครพลาสติกในดินตะกอนบริเวณหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง poster
121 ผศ. ดร.อาภาพร  บุญมี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ฤทธิ์การยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสของสารสกัดจากฝางในพื้นที่ประสบปัญหาจากการคุกคามของช้างป่า poster
122 ผศ. ดร.อิศนันท์

วิวัฒนรัตนบุตร

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง การติดเชื้อแบคทีเรีย Wolbachia

การกระจายทางภูมิศาสตร์ และแหล่งที่อยู่ของลูกน้ำยุงในสกุล Aedes

ในประเทศไทย

poster
123 นางสาวอิสรีย์  รัตนศรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง การเปรียบเทียบปริมาณไมโครพลาสติกในหอยตะเภา (Donax scortum) และหอยเสียบ (Donax incarnates) บริเวณหาดปากเมง จังหวัดตรัง poster
124 นายอุดมวิทย์  ไวทยการ สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน ศึกษาพฤกษศาสตร์พืชไร่พื้นเมืองภาคเหนือตอนบน (ลำปาง ลำพูน

น่าน พะเยา)

poster
125 ดร.เอกลักษณ์  รัตนโชติ สถานวิจัยความเป็นเลิศความหลากหลายทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทย การแพร่กระจายของหญ้าทะเลและปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จ.ตรัง:ข้อมูลพื้นฐานและการประยุกต์ใช้เพื่อการจัดการ oral

[/av_textblock]

[av_table purpose=’pricing’ pricing_table_design=’avia_pricing_default’ pricing_hidden_cells=” caption=” responsive_styling=’avia_responsive_table’][/av_table]

[av_one_half first min_height=” vertical_alignment=” space=” custom_margin=” margin=’0px’ padding=’0px’ border=” border_color=” radius=’0px’ background_color=” src=” background_position=’top left’ background_repeat=’no-repeat’ animation=” mobile_display=”][/av_one_half]