[av_section min_height=” min_height_px=’500px’ padding=’default’ shadow=’no-shadow’ bottom_border=’no-border-styling’ bottom_border_diagonal_color=’#333333′ bottom_border_diagonal_direction=” bottom_border_style=” id=” color=’main_color’ custom_bg=” src=’https://www.biodconference.org/wp-content/uploads/2016/02/biod4-1-3.jpg’ attachment=’730′ attachment_size=’full’ attach=’scroll’ position=’bottom center’ repeat=’no-repeat’ video=” video_ratio=’16:9′ overlay_opacity=’0.5′ overlay_color=” overlay_pattern=” overlay_custom_pattern=”]
[av_heading heading=’ประกาศผลบทคัดย่อ’ tag=’h2′ style=’blockquote modern-quote modern-centered’ size=” subheading_active=” subheading_size=’15’ padding=’10’ color=’custom-color-heading’ custom_font=’#ffffff’][/av_heading]
[/av_section]
[av_textblock size=” font_color=” color=”]
ประกาศผลการคัดเลือกบทคัดย่อ
คณะกรรมการวิชาการฯ ได้คัดเลือกการนำเสนอ “ผลงานวิชาการภาคบรรยาย (Oral) และภาคโปสเตอร์(Poster)” สำหรับผู้สนใจเข้าร่วมการประชุมวิชาการ “การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพแห่งชาติ” ครั้งที่ 4 ภายใต้หัวข้อ “BioD4 : Science and Emerging Technology for Biodiversity Management” ระหว่างวันที่ 21-23 มิถุนายน 2560 ณ โรงแรมนภาลัย จังหวัดอุดรธานี ตามรายชื่อท้ายประกาศ
ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกตามประกาศแนบท้าย ขอให้กรอกข้อมูลในระบบให้ครบถ้วน และต้องชำระค่าลงทะเบียน ภายในวันที่ 15 พฤษภาคม 2560 โดยชำระค่าลงทะเบียนมาที่
ชื่อบัญชี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ธนาคาร : ธนาคารกรุงเทพฯ จำกัด (มหาชน)
ประเภทบัญชี : สะสมทรัพย์
หมายเลขบัญชี : 080-00000-1-0
หากชำระเงินแล้ว สามารถส่งหลักฐานการโอนเงินมายังในระบบลงทะเบียน online หรือ อีเมล์ biod@biotec.or.th และหากไม่ชำระค่าลงทะเบียนภายในเวลาที่กำหนด ถือว่าท่านสละสิทธิ์
หมายเหตุ
- บทคัดย่อที่ผ่านการคัดเลือกจากคณะกรรมการใน ภาคบรรยาย (Oral) หากมีความประสงค์จัดทำผลงานฉบับเต็มภาษาอังกฤษให้เขียนตามรูปแบบฟอร์มวิชาการของวารสาร The Natural History Bulletin of the Siam Society (http://www.siam-society.org/pub_NHB/nhb_index.html) หรือ หากท่านประสงค์ส่งผลงานฉบับเต็มภาษาไทยให้เขียนตามรูปแบบฟอร์มผลงานฉบับเต็มของงานประชุม BioD ครั้งที่ 3 ทั้งนี้ ผลงานฉบับเต็มทั้งอังกฤษหรือภาษาไทยมีกำหนดส่งวันที่ 26 พฤษภาคม 2560 (หากเลยกำหนดเวลาจะถือว่าสละสิทธิ์) ส่งผลงานให้คณะกรรมการได้ที่ biod@biotec.or.th
- ผู้นำเสนอผลงานในรูปแบบ Oral จะต้องจัดทำโดยมีรูปแบบ ดังนี้
- ผู้เสนอผลงานต้องจัดทำไฟล์ Powerpoint สำหรับนำเสนอผลงาน ส่งให้เจ้าหน้าที่รับไฟล์ก่อนนำเสนออย่างน้อย 1 ชั่วโมง
- ผู้นำเสนอผลงานมีเวลา 20 นาที/ผลงาน : นำเสนอประมาณ 15 นาที ให้ความเห็นและตอบข้อซักถามจากผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เข้าร่วมรับฟัง ประมาณ 5 นาที
- ผู้นำเสนอผลงานในรูปแบบ Poster จะต้องจัดทำโดยมีรูปแบบ ดังนี้
- ต้องจัดพิมพ์โปสเตอร์ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ รูปแบบขาตั้ง X-stand ขนาด 60 เซนติเมตร สูง 160 เซนติเมตร (ผู้นำเสนอนำขาตั้ง X-Stand มาเอง จำนวน 1 อัน)
- ดูคำแนะนำการจัดทำโปสเตอร์ได้ที่ https://www.biodconference.org
- ลงทะเบียนติดตั้งโปสเตอร์ได้ตั้งแต่วันที่ 20 มิถุนายน 2560 เวลา 15.00-17.00 น. หรือวันที่ 21 มิถุนายน 2560 เวลา 08.00-09.00 น. ในบริเวณที่ผู้จัดประชุมเตรียมไว้ให้
รายชื่อแนบท้ายประกาศผลการคัดเลือกบทคัดย่อ
ลำดับ |
ชื่อ-นามสกุล |
ชื่อหน่วยงาน |
ชื่อผลงาน |
ผลการตัดสิน |
1 |
Mr.Colin Strine | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
สุรนารี |
Use of human dominated agricultural landscapes by king cobras (Ophiophagus hannah) |
oral |
2 |
นางสาวกนกศรี ทัศนาทัย | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ราทำลายแมลงสกุล Ophiocordyceps 6 ชนิดใหม่
ในประเทศไทย |
poster |
3 |
นางสาวกวิสรา แซ่เฮง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
สุรนารี |
โครงสร้างทางอายุและเพศของปรงชัยภูมิ (Cycas elephantipes) ในอุทยานแห่งชาติภูแลนคา |
poster |
4 |
นางสาวกัญญรัตน์ จำปาทอง | กรมวิชาการเกษตร | รวบรวม และประเมินลักษณะประจำพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อการบริโภค |
poster |
5 |
นายกันย์ จำนงค์ภักดี | ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดเชียงใหม่ | ความหลากหลายของไลเคนในเขตบริการและเขตนันทนาการ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์
จังหวัดเชียงใหม่ |
poster |
6 |
นายกิตติยุทธ ปั้นฉาย | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | พฤกษศาสตร์พื้นบ้านของพืชอาหารจากป่าของชาวกะเหรี่ยงและลัวะในตำบลปางหินฝน อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ |
oral |
7 |
นายกิติพัทธ์ โพธิ์ศรี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | สถานภาพการกระจายของนาก 2 ชนิดในป่าชายเลนทางภาคใต้ฝั่งอันดามันของประเทศไทย |
oral |
8 |
นางขนิษฐา กีรติภัทรกาญจน์ | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การพยากรณ์ข้อมูลผู้ป่วยโรคมาลาเรียในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย โดยการวิเคราะห์อนุกรมเวลา |
poster |
9 |
นางขวัญเรือน
นาคสุวรรณ์กุล |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของไลเคนบนใบไม้ในป่าดิบชื้นในประเทศไทย |
oral |
10 |
นายคมเชษฐา จรุงพันธ์ | ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดพิษณุโลก | ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ทุนทางธรรมชาติบริเวณพื้นที่มรดกโลกห้วยขาแข้งและมูลค่าการใช้ประโยชน์ของชุมชน |
oral |
11 |
นายจตุพงษ์ พลจรัส | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | ความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของปลากัด
Betta stiktos ในวงค์ Osphronemidae โดยใช้ลำดับจีโนมไมโทคอนเดรีย |
poster |
12 |
นางสาวจารุวรรณ
เชื้อสีหะรณชัย |
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | อนุกรมวิธานและข้อมูลของราน้ำกลุ่ม “aero-aquatic” ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 จนถึงปัจจุบัน |
poster |
13 |
นางสาวจุฑามาศ พุทธยากูล | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของตัวอ่อนปะการังบริเวณหมู่เกาะชุมพร |
poster |
14 |
นางสาวจุรีรัตน์ เอื้อพัฒนากิจ | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ความสามารถของราดินที่แยกจากแหล่งอุณหภูมิสูงใต้พิภพภายใต้การเจริญเติบโตที่อุณหภูมิต่างๆ |
poster |
15 |
นางสาวเจนจิรา แก้วติ๊บ | มหาวิทยาลัยพะเยา | การวิเคราะห์ทางเดินอาหารของอึ่งเพ้า ในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา |
poster |
16 |
นายเจริญมี แช่มช้อย | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การศึกษาประชากรเม่นทะเล (Diadema setosum) ในเขตพื้นที่คุ้มครองและนอกเขตพื้นที่คุ้มครองบริเวณหมู่เกาะช้าง เกาะกูด และเกาะหมาก จังหวัดตราด
อ่าวไทยฝั่งตะวันออก |
poster |
17 |
นางสาวชลินทร วิลัยศร | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | บาร์โคดของยีน COI เพื่อการจำแนกชนิดม้าน้ำ
ในประเทศไทย |
poster |
18 |
นายชวกร ขุนเศรษฐ์ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | รายงานการค้นพบแมงมุมสกุล Atmetochilus Simon, 1887 ครั้งแรกในประเทศไทย (Araneae, Nemesiidae) |
poster |
19 |
นายชัยยงค์ บัวบาน | ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดนครราชสีมา | การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของป่าไม้และสัตว์ป่า พื้นที่ห้วยลำสะโตน อุทยานแห่งชาติตาพระยา |
poster |
20 |
นายชาติชาย โคกเขา | มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ |
การศึกษาเบื้องต้นขององค์ประกอบชนิด ความสัมพันธ์กับปัจจัยทางกายภาพของหญ้าทะเล ณ. เกาะตะลิบง จังหวัดตรัง ประเทศไทย |
poster |
21 |
นายเชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์ | มหาวิทยาลัยทักษิณ | ความหลากหลายและการใช้ประโยชน์ของพันธุ์ไม้ยืนต้นในพื้นที่ป่าริมน้ำคลองท่าแนะ จังหวัดพัทลุง |
poster |
22 |
นายณัฐพจน์ วาฤทธิ์ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | ความหลากหลายของผึ้งในประเทศไทย: บัญชีรายชื่อของแมลงผสมเกสรชนิดอื่นนอกเหนือจากผึ้งในสกุล Apis |
poster |
23 |
นายณัฐพจน์ วาฤทธิ์ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | เจ้าแมงมุมตัวร้าย: สถานการณ์การศึกษาแมงมุมในกลุ่ม Mesothelae และ Mygalomorphae ในประเทศไทย (Arachnida: Araneae) |
oral |
24 |
นางสาวณัฐรัตน์ คำเบ้าเมือง | มหาวิทยาลัยขอนแก่น | การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพของทะเล
และชายฝั่ง |
poster |
25 |
นายณัฐวุฒิ วิริยะธนาวุฒิวงษ์ | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | การตรวจสอบไมคอร์ไรซาเห็ดเผาะอย่างรวดเร็วด้วยไพรเมอร์ที่มีความจำเพาะ |
poster |
26 |
นางสาวณิชารีย์ จันทร์นวล | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การจัดจำแนกชนิดของปลวกเลี้ยงราในประเทศไทย
ด้วยเครื่องหมายดีเอ็นเอ |
poster |
27 |
นางสาวดนญา ธนกิจพิพัฒน | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | การจัดจำแนกราก่อโรคชนิดใหม่บนแมลงในอันดับ Orthoptera ในประเทศไทย |
poster |
28 |
นางสาวดาภะวัลย์ คำชา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | ผลกระทบจากพื้นที่ชายขอบป่าที่เป็นถนนต่อสังคมของนกป่าในพื้นที่ป่าดิบแล้ง |
oral |
29 |
นางสาวทักษพร
ธรรมรักษ์เจริญ |
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | การจัดจำแนกทางสัณฐานวิทยาและอณูชีวโมเลกุลของเห็ดสกุล Micropsalliota ในจังหวัดอำนาจเจริญ |
poster |
30 |
นางสาวเทพอัปสร แสนสุข | มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ | ฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ ของเห็ดในเขตพื้นที่วนอุทยานภูเขาไฟกระโดง |
poster |
31 |
นางสาวเทียมหทัย ชูพันธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | ไม้พื้นล่างในวนอุทยานไม้กลายเป็นหิน อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก |
poster |
32 |
นายธนากร ลัทธิ์ถีระสุวรรณ | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลิมพระเกียรติ | การเลือกชนิดพันธุ์ไม้เพื่อการฟื้นฟูป่าผลัดใบในพื้นที่บ้านบุญแจ่ม อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ |
poster |
33 |
นายธรรมนูญ เต็มไชย | กรมอุทยานแห่งชาติ
สัตว์ป่า และพันธุ์พืช |
ปริมาณกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่โครงการก่อสร้าง
เขื่อนแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์และกำแพงเพชร |
oral |
34 |
นายนนธวัช ฉัตรธนบูรณ์ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | อนุกรมวิธานและสัณฐานวิทยาของผึ้งปั้นดินสกุลย่อย Callomegachile Michener,1962 ในประเทศไทย (Hymenoptera; Megachilidae) |
poster |
35 |
นางสาวนรารัตน์
เหล่าพิเชียรพงษ์ |
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การระบุชนิดของงู 35 ชนิดที่พบในประเทศไทย โดยใช้ฐานข้อมูลดีเอ็นเอจากยีนบนไมโทคอนเดรีย COI และ Cytb |
poster |
36 |
นางสาวนันทภัค โพธิสาร | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | การกระจายและความชุกชุมของเบนทิกไดโนแฟลกเจลเลตในบริเวณแหล่งหญ้าทะเลของอ่าวไทยฝั่งตะวันออก |
poster |
37 |
นายนุกูล แสงพันธุ์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | ความหลากชนิดของกุ้งน้ำจืดในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
ทุ่งใหญ่นเรศวรตะวันออก |
poster |
38 |
นางสาวบงกช วิชาชูเชิด | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | ความหลายหลายและการแพร่กระจายของสาหร่ายสกุล Padina ในประเทศไทย |
poster |
39 |
นางสาวปภัสสร ริยะบุตร | มหาวิทยาลัยขอนแก่น | ผลของโซเดียมไฮโปคลอไรด์ (NaOCl) ความเข้มข้นต่างๆ ในการฟอกฆ่าเชื้อยอดและตาข้าง เพื่อใช้ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสิรินธรวัลลี |
poster |
40 |
นายประพันธ์ ไตรยสุทธิ์ | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การสำรวจไวรัสในผึ้งประจำถิ่นและไรปรสิตของไทย |
poster |
41 |
นางประภัสสร อารีสิริสุข | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | โครงสร้างจีโนมไมโทคอนเดรียที่สมบูรณ์ของตุ๊กกายป่าสุราษฎร์ (Cyrtodactylus thirakupti): เครื่องหมายพันธุกรรมชนิดใหม่เพื่อบ่งชี้ประวัติวิวัฒนาการของสกุลตุ๊กกาย (Cyrtodactylus) |
poster |
42 |
นางสาวประภาพรรณ
ซอหะซัน |
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี | ความหลากหลาย ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และปริมาณสารประกอบฟีนอลิคของเห็ดโคน |
poster |
43 |
นายประเสริฐ ศรีกิติกุลชัย | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | อิทธิพลของสารอาหารต่อการเจริญเติบโตของเห็ดเผาะในห้องปฏิบัติการ |
poster |
44 |
นายพงษ์พิพัฒน์ เสน่ห์ดี | คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา | “กว๊านพะเยา” กฎหมายกับการพัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ |
poster |
45 |
นายพงษ์สวัสดิ์ คำสุนทร | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ความหลากหลายของราย่อยสลายซากพืช บนปาล์มสาคูและปาล์มน้ำมัน |
poster |
46 |
นางพนิดา อุนะกุล | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ราทะเลจากป่าโกงกาง: คุณสมบัติในการผลิตเอนไซม์และฤทธิ์ทางชีวภาพ |
poster |
47 |
นายพรธวัช เฉลิมวงศ์ | ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดสุราษฎร์ธานี | โครงสร้างและองค์ประกอบสังคมพืชในระบบนิเวศเกาะ |
poster |
48 |
นายพลชาติ โชติการ | มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ |
การวัดออกซิเจนฟลักซ์ในหญ้าทะเลด้วยเทคนิค
eddy correlation |
poster |
49 |
นางสาวพิมลรัตน์ เทียนสวัสดิ์ | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การเก็บรักษาเมล็ดของต้นไม้ท้องถิ่นเพื่อการฟื้นฟูป่า
ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย |
poster |
50 |
นางสาวเพ็ญทิพย์ วิทิตพงษ์ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | อนุกรมวิธานและดีเอ็นเอบาร์โค้ดของผึ้งกาเหว่าในสกุล Thyreus Panzer, 1806 ในประเทศไทย |
poster |
51 |
นางเพ็ญนภา คูวิบูลย์ศิลป์ | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การท่องเที่ยวมีผลต่อชนิดและแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงในภาคใต้ของประเทศไทย |
poster |
52 |
นายไพโรจน์ เสนา | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การตรวจจับเหตุการณ์สำหรับเครือข่ายเซ็นเซอร์ปะการัง |
poster |
53 |
นางฟามีดะห์ วาเซ็ท ทีนา | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | แรงจูงใจช่วยให้คู่แข่งที่มีขนาดเล็กสามารถเอาชนะคู่แข่งที่ใหญ่กว่าในปูก้ามดาบ |
oral |
54 |
นางภัทรพร รัตนวารี | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | สารรักษาสภาพเซลล์ที่เหมาะสมสำหรับเก็บรักษาจุลินทรีย์ระยะยาวด้วยวิธีระเหยแห้ง (Liquid-drying) |
poster |
55 |
นายภาณุพงศ์ ทวิชศรี | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การใช้วิธีมัลติแพลซพีซีอาร์เพื่อระบุเพศในงูสมัยใหม่ |
poster |
56 |
นางสาวมณีรัตน์ พบความสุข | ศูนย์พันธุวิศกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ | การจัดจำแนกของเห็ดโคนในจังหวัดอำนาจเจริญ |
poster |
57 |
นางสาวมัตฑิกา แดงแย้ม | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | การเกิดโรคปะการังบริเวณแนวปะการังเขตน้ำตื้น
เกาะแตน จังหวัดสุราษฏร์ธานี |
poster |
58 |
นางสาวมาฆมาส สุทธาชีพ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | โครงสร้างขนาดของหอยตะเภาบริเวณหาดเจ้าไหมและหาดปากเมง จังหวัดตรัง |
poster |
59 |
นางเมทินี วสุนธราวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | A novel spore-forming bacterium, Paenibacillus aurantiacus isolated from ant nest soil at Ban Dung, Udonthani |
poster |
60 |
นายยุทธพงษ์ สังข์น้อย | มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ |
เฮทเทอโรโทรฟิคไนตริไฟอิงแบคทีเรียสำหรับบำบัดแอมโมเนียในน้ำเสียที่มีความเค็ม |
poster |
61 |
นางฤทัยภัทร พิมลศรี | คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา | รูปแบบการจัดการความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพสู่การท่องเที่ยวเชิงนิเวศตามหาปลาร้องเพลงที่กว๊านพะเยา |
oral |
62 |
นางสาวละอองดาว จงรักษ์ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | ประชาคมแพลงก์ตอนสัตว์บริเวณปากน้ำหลังสวน จังหวัดชุมพร |
poster |
63 |
นางสาววรธา กลิ่นสวาท | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | วิวัฒนาการเชิงภูมิศาสตร์และโครงสร้างทางพันธุกรรมประชากรของช้างป่าเอเชีย (Elephas maximus)
ตามแนวเทือกเขาตะนาวศรีในประเทศไทย |
oral |
64 |
นายวรพงศ์ สิงห์ชาติ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การหาลำดับเบสในระดับจีโนมของจระเข้น้ำจืด (Crocodylus siamensis) |
poster |
65 |
นายวรัตถ์ ศิวายพราหมณ์ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | การศึกษาทบทวนอนุกรมวิธานของแมงมุมฝาปิดโบราณสกุล Liphistius (Mesothelae; Liphistiidae)
ในประเทศไทย |
poster |
66 |
นางสาววรางรัตน์ ง่วนชู | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การอนุรักษ์พืชผ่านทางความเชื่อดั้งเดิม: พืชเชิงสังคม
ในวัฒนธรรมม้ง |
poster |
67 |
นายวัชระ สามสุวรรณ์ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การให้ร่มเงาบนปะการังที่ฟอกขาวจากอุณหภูมิน้ำทะเลสูงในอ่าวไทยฝั่งตะวันตก |
poster |
68 |
นางสาววาสนา น้อยศรีภูมิ | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | Metarhizium species เชื้อราก่อโรคบนหนอนด้วง ชนิดใหม่ จากป่าชุมชนบ้านเผ่าไทย จังหวัดพิษณุโลก |
poster |
69 |
นายวิชัย ภูริปัญญวานิช | สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) | การสำรวจบัวอุบลชาติพื้นเมืองของไทยที่มีความสัมพันธ์กับบัวจงกลนี |
oral |
70 |
นายวิชิน สืบปาละ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | ทรัพยากรหอยตะเภาในภาวะเสี่ยง: ภาพสะท้อนจากชาวประมง |
poster |
71 |
นายวิรงค์ จันทร | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การวิเคราะห์รูปแบบของจุดแบบสองตัวแปรเพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ของชนิดต้นไม้ในป่า |
poster |
72 |
นายวุฒิกร ภู่อิสสระกุล | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ความหลากหลายและความสัมพันธ์ที่มีต่อแมลงเจ้าบ้านของราแมลง Ophiocordyceps nutans
ในประเทศไทย |
poster |
73 |
นางสาวศิริรัตน์ สมเชื้อ | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การใช้เทคนิคภาพถ่าย 3 มิติเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงแนวปะการัง |
oral |
74 |
นางศิริรัตน์ ศิริพรวิศาล | มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา | ความหลากหลายของเชื้อแบคทีเรีย Bacillus spp.
ที่ควบคุมโรคเหี่ยวเหลืองและการส่งเสริมการเติบโต ของมะเขือเทศ |
poster |
75 |
นายสรวิศ ลาภเบญจกุล | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การวิเคราะห์รูปแบบแฮพโพลไทป์ของจระเข้ไทยและจระเข้น้ำเค็มที่เลี้ยงภายในฟาร์มประเทศไทย |
poster |
76 |
นางสาวสลิลาพร นวลแก้ว | ศุนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ราปนเปื้อน และรายงานราที่พบจากการดำเนินงาน
รับบริการคัดแยก และจัดจำแนกรา |
poster |
77 |
นางสาวสาทินี ซื่อตรง | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ของราทะเลใน
จังหวัดสตูล |
poster |
78 |
นายสาธิต วงศ์บูชาศิลป์ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | เอนโดไฟท์แบคทีเรีย Bacillus spp. สามารถในการยับยั้งเชื้อราโรคเน่าคอดิน และส่งเสริมการเจริญเติบโตของคะน้า |
poster |
79 |
นายสายัณห์ สมฤทธิ์ผล | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | มูลค่าตัวเงินจากเห็ดระโงกและเห็ดป่ากินได้ชนิดอื่น
ในแปลงไม้ยางนาที่ศูนย์พัฒนาการเกษตรภูสิงห์ฯ จังหวัดศรีสะเกษ |
poster |
80 |
นางสาวสิตา ปรีดานนท์ | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ราทะเลชนิดหายากและ รายงานการค้นพบเป็นครั้งแรกในประเทศไทย |
poster |
81 |
นายสิทธิพร เพ็งสกุล | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การแพร่กระจายและความชุกชุมของ
Donax scortum (Bivalvia: Donacidae) บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม |
poster |
82 |
นายสิทธิพร ปานเม่น | สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข | ข้อมูลทางชีวโมเลกุลยืนยันการพบ Cantharocybe virosa: เห็ดในกลุ่มอาการ Gastrointestinal Irritant (GI) ที่รายงานครั้งแรกในประเทศไทย |
poster |
83 |
นายสิรภพ ภูมิภูติกุล | มหาวิทยาลัยนเรศวร | รายงานการพบครั้งแรกของรา Pseudogibellula formicarum เป็นปรสิตบนรา Hirsutella sp. จากสวนผลไม้เกษตรอินทรีย์ในประเทศไทย |
poster |
84 |
นางสาวสิริธร ก้งเส้ง | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | พันธุกรรมของปลาทูประชากรอ้างอิงเพื่อการจัดการประมงอย่างยั่งยืนบริเวณอ่าวไทย |
poster |
85 |
นางสุกาญจน์ รัตนเลิศนุสรณ์ | Rajamangala University of Technology Thanyaburi | การพัฒนาการปลูกโกงกางใบใหญ่ด้วยเม็ดหัวเชื้อปฏิปักษ์ผสม เพื่อฟื้นฟูนากุ้งร้าง |
poster |
86 |
นางสาวสุจินดา สมหมาย | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | การสำรวจเห็ดเผาะในพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย |
poster |
87 |
นางสาวสุดารัตน์ จันทะพร | สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข | การวิเคราะห์สารอัลคาลอยด์มัสคาลีนในเห็ดพิษด้วยวิธี Liquid Chromatography-tandem Mass Spectrometry (LC-MS/MS) |
poster |
88 |
นางสาวสุธินี สินุธก | มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ |
การเจริญเติบโตและการสังเคราะห์แสงของพืชน้ำ Ceratophyllum demersum ในทะเลสาบสงขลา |
poster |
89 |
นางสาวสุมาลี ทองดอนแอ | กรมวิชาการเกษตร | การประเมินสถานภาพความเสี่ยงต่อการใกล้สูญพันธุ์ของพืชในบัญชีแนบท้ายอนุสัญญาไซเตส |
oral |
90 |
นายสุรพล ชุณหบัณฑิต | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของไส้เดือนทะเล
Perinereis aibuhitensis (Nereidae:Polychaeta) จากระบบการเลี้ยงเชิงพาณิชย์ |
poster |
91 |
นางสาวสุรีย์พร บัวอาจ | กรมวิชาการเกษตร | การใช้ประโยชน์จากเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี (Neonothopanus nambi Speg.) ในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne incognita Chitwood) ในแปลงพริก |
oral |
92 |
นางอนันตนิจ ชุมศรี | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | ฤดูกาลที่มีผลต่อความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายบ้านและยุงลายสวนในภาคใต้ของประเทศไทย |
poster |
93 |
นางสาวอรจิรา ประคองชีพ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | ความหลากหลายของลำดับดีเอ็นเอชุดซ้ำ VSRAEP
ในสัตว์ตระกูลวารานัส |
oral |
94 |
นายอรรถชัย คันธะชุมภู | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การใช้ดีเอ็นเอไมโทครอนเดรียดีลูปในการศึกษา
ความผันแปรทางพันธุกรรม โคนมลูกผสมระหว่าง Bos taurus และ Bos indicus ในเขตจังหวัดสระบุรีและ จังหวัดลพบุรี |
poster |
95 |
นายอรรัตน์ สุนทรพงศ์ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | Analysis of gene expression of the metabolic bone diseases Siamese crocodile (Crocodylus siamensis). |
poster |
96 |
นายอารี สุวรรณมณี | สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | ประเมินสถานภาพสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ชุ่มน้ำบึงบอระเพ็ด โดยการประยุกต์ใช้ DPSIR approach |
oral |
97 |
นายอิฐสะราม แสนสุภา | มหาวิทยาลัยพะเยา | ความหลากชนิดสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา |
oral |
98 |
นายอุดมวิทย์ ไวทยการ | สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน | การวิจัยภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านความหลากหลายทางชีวภาพของพืชในชุมชนจังหวัดนครพนมและจังหวัดมุกดาหาร |
poster |
99 |
นายอุเทน ภุมรินทร์ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | ชีววิทยาการป้อนอาหารของนกแอ่นกินรังในสภาพแวดล้อมธรรมชาติ |
oral |
100 |
นายเอกนรินทร์ รอดเจริญ | มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ |
องค์ประกอบชนิดและการแพร่กระจายของ
ไอโซพอดทะลสกุล Cirolana บริเวณชายฝั่งทะเลใน ประเทศไทย |
poster |
101 |
นายเอกพันธ์ ไกรจักร์ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | ไบรโอไฟต์และไลเคนส์อิงอาศัยบนเปลือกไม้ที่พบร่วมกันแบ่งแยกเป็นสองอภิสังคม |
poster |
102 |
นางสาวเอื้อมพร
จันทร์สองดวง |
มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด | ความหลากหลายทางชีวภาพระดับชนิดของไม้ต้นและภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์จากพืชในเขตป่าชุมชน
โคกกุง 2 บ้านโคกกุง อ. เสลภูมิ จ. ร้อยเอ็ด |
poster |
รายชื่อแนบท้ายประกาศผลการคัดเลือกบทคัดย่อ ประเภท “ภาคบรรยาย”
ลำดับ |
ชื่อ-นามสกุล |
ชื่อหน่วยงาน |
ชื่อผลงาน |
ผลการตัดสิน |
1 |
Mr.Colin Strine | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
สุรนารี |
Use of human dominated agricultural landscapes by king cobras (Ophiophagus hannah) |
oral |
2 |
นายกิตติยุทธ ปั้นฉาย | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | พฤกษศาสตร์พื้นบ้านของพืชอาหารจากป่าของชาวกะเหรี่ยงและลัวะในตำบลปางหินฝน อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ |
oral |
3 |
นายกิติพัทธ์ โพธิ์ศรี | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | สถานภาพการกระจายของนาก 2 ชนิดในป่าชายเลนทางภาคใต้ฝั่งอันดามันของประเทศไทย |
oral |
4 |
นางขวัญเรือน
นาคสุวรรณ์กุล |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของไลเคนบนใบไม้ในป่าดิบชื้นในประเทศไทย |
oral |
5 |
นายคมเชษฐา จรุงพันธ์ | ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดพิษณุโลก | ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ทุนทางธรรมชาติบริเวณพื้นที่มรดกโลกห้วยขาแข้งและมูลค่าการใช้ประโยชน์ของชุมชน |
oral |
6 |
นายณัฐพจน์ วาฤทธิ์ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | เจ้าแมงมุมตัวร้าย: สถานการณ์การศึกษาแมงมุมในกลุ่ม Mesothelae และ Mygalomorphae ในประเทศไทย (Arachnida: Araneae) |
oral |
7 |
นางสาวดาภะวัลย์ คำชา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | ผลกระทบจากพื้นที่ชายขอบป่าที่เป็นถนนต่อสังคมของนกป่าในพื้นที่ป่าดิบแล้ง |
oral |
8 |
นายธรรมนูญ เต็มไชย | กรมอุทยานแห่งชาติ
สัตว์ป่า และพันธุ์พืช |
ปริมาณกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่โครงการก่อสร้าง
เขื่อนแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์และกำแพงเพชร |
oral |
9 |
นางฟามีดะห์ วาเซ็ท ทีนา | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | แรงจูงใจช่วยให้คู่แข่งที่มีขนาดเล็กสามารถเอาชนะคู่แข่งที่ใหญ่กว่าในปูก้ามดาบ |
oral |
10 |
นางฤทัยภัทร พิมลศรี | คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา | รูปแบบการจัดการความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพสู่การท่องเที่ยวเชิงนิเวศตามหาปลาร้องเพลงที่กว๊านพะเยา |
oral |
11 |
นางสาววรธา กลิ่นสวาท | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | วิวัฒนาการเชิงภูมิศาสตร์และโครงสร้างทางพันธุกรรมประชากรของช้างป่าเอเชีย (Elephas maximus)
ตามแนวเทือกเขาตะนาวศรีในประเทศไทย |
oral |
12 |
นายวิชัย ภูริปัญญวานิช | สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) | การสำรวจบัวอุบลชาติพื้นเมืองของไทยที่มีความสัมพันธ์กับบัวจงกลนี |
oral |
13 |
นางสาวศิริรัตน์ สมเชื้อ | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การใช้เทคนิคภาพถ่าย 3 มิติเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงแนวปะการัง |
oral |
14 |
นางสาวสุมาลี ทองดอนแอ | กรมวิชาการเกษตร | การประเมินสถานภาพความเสี่ยงต่อการใกล้สูญพันธุ์ของพืชในบัญชีแนบท้ายอนุสัญญาไซเตส |
oral |
15 |
นางสาวสุรีย์พร บัวอาจ | กรมวิชาการเกษตร | การใช้ประโยชน์จากเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี (Neonothopanus nambi Speg.) ในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne incognita Chitwood) ในแปลงพริก |
oral |
16 |
นางสาวอรจิรา ประคองชีพ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | ความหลากหลายของลำดับดีเอ็นเอชุดซ้ำ VSRAEP
ในสัตว์ตระกูลวารานัส |
oral |
17 |
นายอารี สุวรรณมณี | สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | ประเมินสถานภาพสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ชุ่มน้ำบึงบอระเพ็ด โดยการประยุกต์ใช้ DPSIR approach |
oral |
18 |
นายอิฐสะราม แสนสุภา | มหาวิทยาลัยพะเยา | ความหลากชนิดสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา |
oral |
19 |
นายอุเทน ภุมรินทร์ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | ชีววิทยาการป้อนอาหารของนกแอ่นกินรังในสภาพแวดล้อมธรรมชาติ |
oral |
รายชื่อแนบท้ายประกาศผลการคัดเลือกบทคัดย่อ ประเภท “ภาคโปสเตอร์”
ลำดับ |
ชื่อ-นามสกุล |
ชื่อหน่วยงาน |
ชื่อผลงาน |
ผลการตัดสิน |
1 |
นางสาวกนกศรี ทัศนาทัย | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ราทำลายแมลงสกุล Ophiocordyceps 6 ชนิดใหม่
ในประเทศไทย |
poster |
2 |
นางสาวกวิสรา แซ่เฮง | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
สุรนารี |
โครงสร้างทางอายุและเพศของปรงชัยภูมิ (Cycas elephantipes) ในอุทยานแห่งชาติภูแลนคา |
poster |
3 |
นางสาวกัญญรัตน์ จำปาทอง | กรมวิชาการเกษตร | รวบรวม และประเมินลักษณะประจำพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อการบริโภค |
poster |
4 |
นายกันย์ จำนงค์ภักดี | ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดเชียงใหม่ | ความหลากหลายของไลเคนในเขตบริการและเขตนันทนาการ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์
จังหวัดเชียงใหม่ |
poster |
5 |
นางขนิษฐา กีรติภัทรกาญจน์ | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การพยากรณ์ข้อมูลผู้ป่วยโรคมาลาเรียในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย โดยการวิเคราะห์อนุกรมเวลา |
poster |
6 |
นายจตุพงษ์ พลจรัส | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | ความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของปลากัด
Betta stiktos ในวงค์ Osphronemidae โดยใช้ลำดับจีโนมไมโทคอนเดรีย |
poster |
7 |
นางสาวจารุวรรณ
เชื้อสีหะรณชัย |
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | อนุกรมวิธานและข้อมูลของราน้ำกลุ่ม “aero-aquatic” ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 จนถึงปัจจุบัน |
poster |
8 |
นางสาวจุฑามาศ พุทธยากูล | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของตัวอ่อนปะการังบริเวณหมู่เกาะชุมพร |
poster |
9 |
นางสาวจุรีรัตน์ เอื้อพัฒนากิจ | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ความสามารถของราดินที่แยกจากแหล่งอุณหภูมิสูงใต้พิภพภายใต้การเจริญเติบโตที่อุณหภูมิต่างๆ |
poster |
10 |
นางสาวเจนจิรา แก้วติ๊บ | มหาวิทยาลัยพะเยา | การวิเคราะห์ทางเดินอาหารของอึ่งเพ้า ในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา |
poster |
11 |
นายเจริญมี แช่มช้อย | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การศึกษาประชากรเม่นทะเล (Diadema setosum) ในเขตพื้นที่คุ้มครองและนอกเขตพื้นที่คุ้มครองบริเวณหมู่เกาะช้าง เกาะกูด และเกาะหมาก จังหวัดตราด
อ่าวไทยฝั่งตะวันออก |
poster |
12 |
นางสาวชลินทร วิลัยศร | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | บาร์โคดของยีน COI เพื่อการจำแนกชนิดม้าน้ำ
ในประเทศไทย |
poster |
13 |
นายชวกร ขุนเศรษฐ์ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | รายงานการค้นพบแมงมุมสกุล Atmetochilus Simon, 1887 ครั้งแรกในประเทศไทย (Araneae, Nemesiidae) |
poster |
14 |
นายชัยยงค์ บัวบาน | ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดนครราชสีมา | การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของป่าไม้และสัตว์ป่า พื้นที่ห้วยลำสะโตน อุทยานแห่งชาติตาพระยา |
poster |
15 |
นายชาติชาย โคกเขา | มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ |
การศึกษาเบื้องต้นขององค์ประกอบชนิด ความสัมพันธ์กับปัจจัยทางกายภาพของหญ้าทะเล ณ. เกาะตะลิบง จังหวัดตรัง ประเทศไทย |
poster |
16 |
นายเชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์ | มหาวิทยาลัยทักษิณ | ความหลากหลายและการใช้ประโยชน์ของพันธุ์ไม้ยืนต้นในพื้นที่ป่าริมน้ำคลองท่าแนะ จังหวัดพัทลุง |
poster |
17 |
นายณัฐพจน์ วาฤทธิ์ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | ความหลากหลายของผึ้งในประเทศไทย: บัญชีรายชื่อของแมลงผสมเกสรชนิดอื่นนอกเหนือจากผึ้งในสกุล Apis |
poster |
18 |
นางสาวณัฐรัตน์ คำเบ้าเมือง | มหาวิทยาลัยขอนแก่น | การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพของทะเล
และชายฝั่ง |
poster |
19 |
นายณัฐวุฒิ วิริยะธนาวุฒิวงษ์ | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | การตรวจสอบไมคอร์ไรซาเห็ดเผาะอย่างรวดเร็วด้วยไพรเมอร์ที่มีความจำเพาะ |
poster |
20 |
นางสาวณิชารีย์ จันทร์นวล | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การจัดจำแนกชนิดของปลวกเลี้ยงราในประเทศไทย
ด้วยเครื่องหมายดีเอ็นเอ |
poster |
21 |
นางสาวดนญา ธนกิจพิพัฒน | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | การจัดจำแนกราก่อโรคชนิดใหม่บนแมลงในอันดับ Orthoptera ในประเทศไทย |
poster |
22 |
นางสาวทักษพร
ธรรมรักษ์เจริญ |
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | การจัดจำแนกทางสัณฐานวิทยาและอณูชีวโมเลกุลของเห็ดสกุล Micropsalliota ในจังหวัดอำนาจเจริญ |
poster |
23 |
นางสาวเทพอัปสร แสนสุข | มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ | ฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ ของเห็ดในเขตพื้นที่วนอุทยานภูเขาไฟกระโดง |
poster |
24 |
นางสาวเทียมหทัย ชูพันธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | ไม้พื้นล่างในวนอุทยานไม้กลายเป็นหิน อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก |
poster |
25 |
นายธนากร ลัทธิ์ถีระสุวรรณ | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แพร่ เฉลิมพระเกียรติ | การเลือกชนิดพันธุ์ไม้เพื่อการฟื้นฟูป่าผลัดใบในพื้นที่บ้านบุญแจ่ม อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ |
poster |
26 |
นายนนธวัช ฉัตรธนบูรณ์ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | อนุกรมวิธานและสัณฐานวิทยาของผึ้งปั้นดินสกุลย่อย Callomegachile Michener,1962 ในประเทศไทย (Hymenoptera; Megachilidae) |
poster |
27 |
นางสาวนรารัตน์
เหล่าพิเชียรพงษ์ |
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การระบุชนิดของงู 35 ชนิดที่พบในประเทศไทย โดยใช้ฐานข้อมูลดีเอ็นเอจากยีนบนไมโทคอนเดรีย COI และ Cytb |
poster |
28 |
นางสาวนันทภัค โพธิสาร | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | การกระจายและความชุกชุมของเบนทิกไดโนแฟลกเจลเลตในบริเวณแหล่งหญ้าทะเลของอ่าวไทยฝั่งตะวันออก |
poster |
29 |
นายนุกูล แสงพันธุ์ | วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี | ความหลากชนิดของกุ้งน้ำจืดในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
ทุ่งใหญ่นเรศวรตะวันออก |
poster |
30 |
นางสาวบงกช วิชาชูเชิด | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | ความหลายหลายและการแพร่กระจายของสาหร่ายสกุล Padina ในประเทศไทย |
poster |
31 |
นางสาวปภัสสร ริยะบุตร | มหาวิทยาลัยขอนแก่น | ผลของโซเดียมไฮโปคลอไรด์ (NaOCl) ความเข้มข้นต่างๆ ในการฟอกฆ่าเชื้อยอดและตาข้าง เพื่อใช้ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสิรินธรวัลลี |
poster |
32 |
นายประพันธ์ ไตรยสุทธิ์ | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การสำรวจไวรัสในผึ้งประจำถิ่นและไรปรสิตของไทย |
poster |
33 |
นางประภัสสร อารีสิริสุข | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | โครงสร้างจีโนมไมโทคอนเดรียที่สมบูรณ์ของตุ๊กกายป่าสุราษฎร์ (Cyrtodactylus thirakupti): เครื่องหมายพันธุกรรมชนิดใหม่เพื่อบ่งชี้ประวัติวิวัฒนาการของสกุลตุ๊กกาย (Cyrtodactylus) |
poster |
34 |
นางสาวประภาพรรณ
ซอหะซัน |
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี | ความหลากหลาย ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และปริมาณสารประกอบฟีนอลิคของเห็ดโคน |
poster |
35 |
นายประเสริฐ ศรีกิติกุลชัย | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | อิทธิพลของสารอาหารต่อการเจริญเติบโตของเห็ดเผาะในห้องปฏิบัติการ |
poster |
36 |
นายพงษ์พิพัฒน์ เสน่ห์ดี | คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา | “กว๊านพะเยา” กฎหมายกับการพัฒนาการท่องเที่ยวในพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ |
poster |
37 |
นายพงษ์สวัสดิ์ คำสุนทร | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ความหลากหลายของราย่อยสลายซากพืช บนปาล์มสาคูและปาล์มน้ำมัน |
poster |
38 |
นางพนิดา อุนะกุล | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ราทะเลจากป่าโกงกาง: คุณสมบัติในการผลิตเอนไซม์และฤทธิ์ทางชีวภาพ |
poster |
39 |
นายพรธวัช เฉลิมวงศ์ | ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดสุราษฎร์ธานี | โครงสร้างและองค์ประกอบสังคมพืชในระบบนิเวศเกาะ |
poster |
40 |
นายพลชาติ โชติการ | มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ |
การวัดออกซิเจนฟลักซ์ในหญ้าทะเลด้วยเทคนิค
eddy correlation |
poster |
41 |
นางสาวพิมลรัตน์ เทียนสวัสดิ์ | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การเก็บรักษาเมล็ดของต้นไม้ท้องถิ่นเพื่อการฟื้นฟูป่า
ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย |
poster |
42 |
นางสาวเพ็ญทิพย์ วิทิตพงษ์ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | อนุกรมวิธานและดีเอ็นเอบาร์โค้ดของผึ้งกาเหว่าในสกุล Thyreus Panzer, 1806 ในประเทศไทย |
poster |
43 |
นางเพ็ญนภา คูวิบูลย์ศิลป์ | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การท่องเที่ยวมีผลต่อชนิดและแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงในภาคใต้ของประเทศไทย |
poster |
44 |
นายไพโรจน์ เสนา | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การตรวจจับเหตุการณ์สำหรับเครือข่ายเซ็นเซอร์ปะการัง |
poster |
45 |
นางภัทรพร รัตนวารี | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | สารรักษาสภาพเซลล์ที่เหมาะสมสำหรับเก็บรักษาจุลินทรีย์ระยะยาวด้วยวิธีระเหยแห้ง (Liquid-drying) |
poster |
46 |
นายภาณุพงศ์ ทวิชศรี | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การใช้วิธีมัลติแพลซพีซีอาร์เพื่อระบุเพศในงูสมัยใหม่ |
poster |
47 |
นางสาวมณีรัตน์ พบความสุข | ศูนย์พันธุวิศกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ | การจัดจำแนกของเห็ดโคนในจังหวัดอำนาจเจริญ |
poster |
48 |
นางสาวมัตฑิกา แดงแย้ม | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | การเกิดโรคปะการังบริเวณแนวปะการังเขตน้ำตื้น
เกาะแตน จังหวัดสุราษฏร์ธานี |
poster |
49 |
นางสาวมาฆมาส สุทธาชีพ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | โครงสร้างขนาดของหอยตะเภาบริเวณหาดเจ้าไหมและหาดปากเมง จังหวัดตรัง |
poster |
50 |
นางเมทินี วสุนธราวัฒน์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | A novel spore-forming bacterium, Paenibacillus aurantiacus isolated from ant nest soil at Ban Dung, Udonthani |
poster |
51 |
นายยุทธพงษ์ สังข์น้อย | มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ |
เฮทเทอโรโทรฟิคไนตริไฟอิงแบคทีเรียสำหรับบำบัดแอมโมเนียในน้ำเสียที่มีความเค็ม |
poster |
52 |
นางสาวละอองดาว จงรักษ์ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | ประชาคมแพลงก์ตอนสัตว์บริเวณปากน้ำหลังสวน จังหวัดชุมพร |
poster |
53 |
นายวรพงศ์ สิงห์ชาติ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การหาลำดับเบสในระดับจีโนมของจระเข้น้ำจืด (Crocodylus siamensis) |
poster |
54 |
นายวรัตถ์ ศิวายพราหมณ์ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | การศึกษาทบทวนอนุกรมวิธานของแมงมุมฝาปิดโบราณสกุล Liphistius (Mesothelae; Liphistiidae)
ในประเทศไทย |
poster |
55 |
นางสาววรางรัตน์ ง่วนชู | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การอนุรักษ์พืชผ่านทางความเชื่อดั้งเดิม: พืชเชิงสังคม
ในวัฒนธรรมม้ง |
poster |
56 |
นายวัชระ สามสุวรรณ์ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การให้ร่มเงาบนปะการังที่ฟอกขาวจากอุณหภูมิน้ำทะเลสูงในอ่าวไทยฝั่งตะวันตก |
poster |
57 |
นางสาววาสนา น้อยศรีภูมิ | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | Metarhizium species เชื้อราก่อโรคบนหนอนด้วง ชนิดใหม่ จากป่าชุมชนบ้านเผ่าไทย จังหวัดพิษณุโลก |
poster |
58 |
นายวิชิน สืบปาละ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | ทรัพยากรหอยตะเภาในภาวะเสี่ยง: ภาพสะท้อนจากชาวประมง |
poster |
59 |
นายวิรงค์ จันทร | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การวิเคราะห์รูปแบบของจุดแบบสองตัวแปรเพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ของชนิดต้นไม้ในป่า |
poster |
60 |
นายวุฒิกร ภู่อิสสระกุล | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ความหลากหลายและความสัมพันธ์ที่มีต่อแมลงเจ้าบ้านของราแมลง Ophiocordyceps nutans
ในประเทศไทย |
poster |
61 |
นางศิริรัตน์ ศิริพรวิศาล | มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา | ความหลากหลายของเชื้อแบคทีเรีย Bacillus spp.
ที่ควบคุมโรคเหี่ยวเหลืองและการส่งเสริมการเติบโต ของมะเขือเทศ |
poster |
62 |
นายสรวิศ ลาภเบญจกุล | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การวิเคราะห์รูปแบบแฮพโพลไทป์ของจระเข้ไทยและจระเข้น้ำเค็มที่เลี้ยงภายในฟาร์มประเทศไทย |
poster |
63 |
นางสาวสลิลาพร นวลแก้ว | ศุนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ราปนเปื้อน และรายงานราที่พบจากการดำเนินงาน
รับบริการคัดแยก และจัดจำแนกรา |
poster |
64 |
นางสาวสาทินี ซื่อตรง | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ของราทะเลใน
จังหวัดสตูล |
poster |
65 |
นายสาธิต วงศ์บูชาศิลป์ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | เอนโดไฟท์แบคทีเรีย Bacillus spp. สามารถในการยับยั้งเชื้อราโรคเน่าคอดิน และส่งเสริมการเจริญเติบโตของคะน้า |
poster |
66 |
นายสายัณห์ สมฤทธิ์ผล | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | มูลค่าตัวเงินจากเห็ดระโงกและเห็ดป่ากินได้ชนิดอื่น
ในแปลงไม้ยางนาที่ศูนย์พัฒนาการเกษตรภูสิงห์ฯ จังหวัดศรีสะเกษ |
poster |
67 |
นางสาวสิตา ปรีดานนท์ | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ราทะเลชนิดหายากและ รายงานการค้นพบเป็นครั้งแรกในประเทศไทย |
poster |
68 |
นายสิทธิพร เพ็งสกุล | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การแพร่กระจายและความชุกชุมของ
Donax scortum (Bivalvia: Donacidae) บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม |
poster |
69 |
นายสิทธิพร ปานเม่น | สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข | ข้อมูลทางชีวโมเลกุลยืนยันการพบ Cantharocybe virosa: เห็ดในกลุ่มอาการ Gastrointestinal Irritant (GI) ที่รายงานครั้งแรกในประเทศไทย |
poster |
70 |
นายสิรภพ ภูมิภูติกุล | มหาวิทยาลัยนเรศวร | รายงานการพบครั้งแรกของรา Pseudogibellula formicarum เป็นปรสิตบนรา Hirsutella sp. จากสวนผลไม้เกษตรอินทรีย์ในประเทศไทย |
poster |
71 |
นางสาวสิริธร ก้งเส้ง | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | พันธุกรรมของปลาทูประชากรอ้างอิงเพื่อการจัดการประมงอย่างยั่งยืนบริเวณอ่าวไทย |
poster |
72 |
นางสุกาญจน์ รัตนเลิศนุสรณ์ | Rajamangala University of Technology Thanyaburi | การพัฒนาการปลูกโกงกางใบใหญ่ด้วยเม็ดหัวเชื้อปฏิปักษ์ผสม เพื่อฟื้นฟูนากุ้งร้าง |
poster |
73 |
นางสาวสุจินดา สมหมาย | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | การสำรวจเห็ดเผาะในพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย |
poster |
74 |
นางสาวสุดารัตน์ จันทะพร | สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข | การวิเคราะห์สารอัลคาลอยด์มัสคาลีนในเห็ดพิษด้วยวิธี Liquid Chromatography-tandem Mass Spectrometry (LC-MS/MS) |
poster |
75 |
นางสาวสุธินี สินุธก | มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ |
การเจริญเติบโตและการสังเคราะห์แสงของพืชน้ำ Ceratophyllum demersum ในทะเลสาบสงขลา |
poster |
76 |
นายสุรพล ชุณหบัณฑิต | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของไส้เดือนทะเล
Perinereis aibuhitensis (Nereidae:Polychaeta) จากระบบการเลี้ยงเชิงพาณิชย์ |
poster |
77 |
นางอนันตนิจ ชุมศรี | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | ฤดูกาลที่มีผลต่อความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายบ้านและยุงลายสวนในภาคใต้ของประเทศไทย |
poster |
78 |
นายอรรถชัย คันธะชุมภู | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | การใช้ดีเอ็นเอไมโทครอนเดรียดีลูปในการศึกษา
ความผันแปรทางพันธุกรรม โคนมลูกผสมระหว่าง Bos taurus และ Bos indicus ในเขตจังหวัดสระบุรีและ จังหวัดลพบุรี |
poster |
79 |
นายอรรัตน์ สุนทรพงศ์ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | Analysis of gene expression of the metabolic bone diseases Siamese crocodile (Crocodylus siamensis). |
poster |
80 |
นายอุดมวิทย์ ไวทยการ | สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน | การวิจัยภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านความหลากหลายทางชีวภาพของพืชในชุมชนจังหวัดนครพนมและจังหวัดมุกดาหาร |
poster |
81 |
นายเอกนรินทร์ รอดเจริญ | มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ |
องค์ประกอบชนิดและการแพร่กระจายของ
ไอโซพอดทะลสกุล Cirolana บริเวณชายฝั่งทะเลใน ประเทศไทย |
poster |
82 |
นายเอกพันธ์ ไกรจักร์ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | ไบรโอไฟต์และไลเคนส์อิงอาศัยบนเปลือกไม้ที่พบร่วมกันแบ่งแยกเป็นสองอภิสังคม |
poster |
83 |
นางสาวเอื้อมพร
จันทร์สองดวง |
มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด | ความหลากหลายทางชีวภาพระดับชนิดของไม้ต้นและภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์จากพืชในเขตป่าชุมชน
โคกกุง 2 บ้านโคกกุง อ. เสลภูมิ จ. ร้อยเอ็ด |
poster |
[/av_textblock]
[av_table purpose=’pricing’ pricing_table_design=’avia_pricing_default’ pricing_hidden_cells=” caption=” responsive_styling=’avia_responsive_table’][/av_table]